Journal Articles
การพัฒนาบทเรียน e-lerning แบบปฎิสัมพันธ์ วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อชีวิต สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
งานวิจัย Journal Article
0000.
@article{000,
title = {งานวิจัย},
author = {การพัฒนาบทเรียน e-lerning แบบปฎิสัมพันธ์ วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อชีวิต สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี},
editor = {การพัฒนาบทเรียน e-lerning แบบปฎิสัมพันธ์ วิชาคอมพิวเตอร์เพื่อชีวิต สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี},
abstract = {บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์.1).เพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์
วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีให้มีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ที่ก าหนดไม่ต่ ากว่า 80/80 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนเรียนและ
หลังเรียนด้วย.บทเรียน.e-Learning.แบบปฏิสัมพันธ์.วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิตส าหรับนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.3).เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างนักศึกษาที่เรียน
แบบปกติกับเรียนด้วยบทเรียน e-Learning และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วย
บทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต.กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้เป็น
นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จ านวน 56 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ
กลุ่ม โดยพิจารณาเลือกจากนักศึกษากลุ่มที่ลงทะเบียนเรียนวิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต ที่มีตารางเรียน
กับผู้วิจัย โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่เรียนแบบปกติ จ านวน 28 คน และกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียน
e-Learning 28.คน เครื่องมือในการวิจัยคือการเรียนแบบปกติที่มีเนื้อหากิจกรรมเหมือนกันกับ
บทเรียน.e-Learning.แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ส าหรับนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน.e-Learning.สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test
ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบทเรียน.e-Learning.แบบปฏิสัมพันธ์วิชาคอมพิวเตอร์กับ
ชีวิต ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีปกติและบทเรียน.e-Learning..หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนที่
ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.01 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน
e-Learning สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และความพึงพอใจ
ของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยบทเรียน e-Learning อยู่ในระดับพอใจมาก },
keywords = {},
pubstate = {published},
tppubtype = {article}
}
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์.1).เพื่อสร้างและพัฒนาบทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์
วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีให้มีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ที่ก าหนดไม่ต่ ากว่า 80/80 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนเรียนและ
หลังเรียนด้วย.บทเรียน.e-Learning.แบบปฏิสัมพันธ์.วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิตส าหรับนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.3).เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างนักศึกษาที่เรียน
แบบปกติกับเรียนด้วยบทเรียน e-Learning และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วย
บทเรียน e-Learning แบบปฏิสัมพันธ์ วิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต.กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้เป็น
นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จ านวน 56 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบ
กลุ่ม โดยพิจารณาเลือกจากนักศึกษากลุ่มที่ลงทะเบียนเรียนวิชาคอมพิวเตอร์กับชีวิต ที่มีตารางเรียน
กับผู้วิจัย โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่เรียนแบบปกติ จ านวน 28 คน และกลุ่มที่เรียนด้วยบทเรียน
e-Learning 28.คน เครื่องมือในการวิจัยคือการเรียนแบบปกติที่มีเนื้อหากิจกรรมเหมือนกันกับ
บทเรียน.e-Learning.แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ
ส าหรับนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน.e-Learning.สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ t-test
ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบทเรียน.e-Learning.แบบปฏิสัมพันธ์วิชาคอมพิวเตอร์กับ
ชีวิต ส าหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยวิธีปกติและบทเรียน.e-Learning..หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนที่
ระดับนัยส าคัญทางสถิติ 0.01 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียน
e-Learning สูงกว่ากลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และความพึงพอใจ
ของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยบทเรียน e-Learning อยู่ในระดับพอใจมาก
งานวิจัย/บทความวิชาการ
Journal Articles
งานวิจัย Journal Article
0000.